พระยายืนชิงช้ากับขบวนแห่แห่งเกียรติยศ ในพระราชพิธีตรียัมปวาย – ตรีปวาย
กะฉ่อนวาไรตี้
พระยายืนชิงช้ากับขบวนแห่แห่งเกียรติยศ ในพระราชพิธีตรียัมปวาย – ตรีปวาย
พระยายืนชิงช้าคือผู้ที่มีบทบาทสำคัญผู้หนึ่งในพระราชพิธีตรียัมปวาย - ตรีปวาย เนื่องจากพระยายืนชิงช้าคือผู้แทนของพระมหากษัตริย์ และผู้แทนของพระอิศวร ที่เสด็จลงมาทอดพระเนตรการโล้ชิงช้าในพระราชพิธีตรียัมปวาย - ตรีปวาย ตามตำนานการทดสอบความมั่นคงแข็งแรงของโลก โดยพราหมณ์จะเป็นผู้ผูกดวงชะตา และทำพิธีอัญเชิญพระอิศวรให้สิงสถิตพระยายืนชิงช้า ก่อนจะแห่แหนไปยังโรงพิธีใกล้เทวสถานโบสถ์พราหมณ์เพื่อให้เป็นมงคลแก่บ้านเมือง
แต่เดิมนั้นผู้ที่จะมารับบทเป็นพระยายืนชิงช้าจะเป็นเจ้าหน้าที่ของกรมเกษตราธิการ ตำแหน่งคือพระยาพลเทพ หรือกรมนา “แสดงว่าแต่ก่อนนั้น งานตรียัมปวายโล้ชิงช้าเป็นงานที่เกี่ยวกับกสิกรรมเจริญพืชผลต่อเนื่องกับงานจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ (หรืออีกนัยหนึ่ง เทศกาลตรียัมปวายมีก่อนหลังเก็บเกี่ยวเพื่อปลุกบรรทมเจ้าแม่ของฟ้าฝนแล้วค่อยมีงานจรดพระนังคัลฯขึ้นต่อเนื่องภายหลังก่อนจะลงมือไถนา)
ขบวนแห่แหนของพระยายืนชิงช้าจะมีการจัดอย่างมโหฬาร ประกอบด้วยขบวนหน้าและขบวนหลัง ส่วนขบวนของพระยายืนชิงช้าอยู่ตรงกลาง พระยายืนชิงช้านั่งบนเสลี่ยง แวดล้อมด้วยเครื่องสูง อาทิ กรรเชิง บังสูรย์ ตามด้วยขบวนเชิญเครื่องยศของผู้รับหน้าที่เป็นพระยายืนชิงช้า
พิธีโล้ชิงช้า...หลังกรุงศรีอยุธยาถูกเผา...ไม่เหลือบันทึกเป็นหลักฐาน ตอนที่เชลยไทยถูกกวาดต้อนไปพม่า พระเจ้ามังระรับสั่งให้เชลยไทยเล่าเรื่องนี้ไว้ คนไทยสมัยต่อมาได้อ่านจากหนังสือ คำให้การของชาวกรุงเก่า ตั้งเสาสูง 40 ศอก 2 เสา เอาเชือกผูกแขวนกระดานแผ่นหนึ่ง ยาว 4 ศอก กว้าง 2 ศอก พราหมณ์สี่คนนั่งโล้ชิงช้า ข้างหน้าชิงช้ามีเสาสูง 40 ศอก เอาเงิน 40 บาทใส่ถุงห้อยไว้ ให้พราหมณ์โล้ชิงช้าไปคาบถุงเงิน ถ้าคาบได้ก็ได้เงิน “ถ้าแลคาบมิได้ พราหมณ์นั้นต้องถูกฝังดินเพียงบั้นเอว”
ผู้ทำหน้าที่แทนพระอิศวร เรียกว่าพระยายืนชิงช้า แต่ไม่ใช่คนโล้ชิงช้า เลือกมาจากข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ จะได้รับเชิญเข้าไปในชมรม (โรงปลูกชั่วคราวแบบปะรำ) นั่งบนราวไม้ไผ่หุ้มผ้าขาว หลังพิงราวไม้ไผ่อีกราว ท่านั่งกำหนดให้พระยายืนชิงช้า เอาเท้าซ้ายยันพื้นดิน เอาเท้าขวาพาดเข่าซ้าย มีกติกา ถ้าเท้าขวาตกเหยียบแผ่นดิน ส่วยแลอากรซึ่งมาแต่หัวเมืองต่างๆ ตลอดจนเครื่องบรรณาการพระราชทานที่ได้ระหว่างเวลาพิธีจะต้องตกเป็นของพราหมณ์ พระยายืนชิงช้าที่ปล่อยเท้าขวาตกดิน เคยปรากฏในสมัยรัชกาลที่ 2 ชื่อ เจ้าพระยาพลเทพ (ทองอิน)
พิธีต้อนรับปีใหม่แบบไทย สมัยอยุธยาเรียกพระราชพิธีตรียัมปวาย และพระราชพิธีตรีปวาย พิธีแบบพราหมณ์ สองพระราชพิธีต่อเนื่องกัน (สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ส.พลายน้อย สถาพรบุ๊คส์ 2553) เดิมพันพระยายืนชิงช้า เดือนอ้าย ขึ้นหนึ่งค่ำ พราหมณ์มีความเชื่อว่า พระอิศวรจะเสด็จมาเยี่ยมโลกมนุษย์ตามหน้าที่
เมื่อพระพรหมสร้างโลกเสร็จ ก็มอบหมายให้พระอิศวรดูแล พระอิศวรไม่แน่พระทัยโลกจะแข็งแรงพอ จึงขอทดสอบให้พญานาคเอาหางพันภูเขาริมแม่น้ำฟากหนึ่ง เอาหัวพันภูเขาอีกฟากหนึ่งแล้วให้ไกวตัวแบบเล่นชิงช้า ถ้าโลกไม่แข็งแรง ก็จะคลอนแคลน แสดงอาการสะเทือนแบบแผ่นดินไหว พระอิศวรจะทรงยืนด้วยพระบาทข้างเดียว ในลักษณะเหมือนไขว่ห้าง ถ้าแผ่นดินไหวก็จะทรงยืนอยู่ไม่ได้
พิธีโล้ชิงช้า...หลังกรุงศรีอยุธยาถูกเผา...ไม่เหลือบันทึกเป็นหลักฐาน ตอนที่เชลยไทยถูกกวาดต้อนไปพม่า พระเจ้ามังระรับสั่งให้เชลยไทยเล่าเรื่องนี้ไว้ คนไทยสมัยต่อมาได้อ่านจากหนังสือ คำให้การของชาวกรุงเก่า ตั้งเสาสูง 40 ศอก 2 เสา เอาเชือกผูกแขวนกระดานแผ่นหนึ่ง ยาว 4 ศอก กว้าง 2 ศอก พราหมณ์สี่คนนั่งโล้ชิงช้า ข้างหน้าชิงช้ามีเสาสูง 40 ศอก เอาเงิน 40 บาทใส่ถุงห้อยไว้ ให้พราหมณ์โล้ชิงช้าไปคาบถุงเงิน ถ้าคาบได้ก็ได้เงิน “ถ้าแลคาบมิได้ พราหมณ์นั้นต้องถูกฝังดินเพียงบั้นเอว”
ผู้ทำหน้าที่แทนพระอิศวร เรียกว่าพระยายืนชิงช้า แต่ไม่ใช่คนโล้ชิงช้า เลือกมาจากข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ จะได้รับเชิญเข้าไปในชมรม (โรงปลูกชั่วคราวแบบปะรำ) นั่งบนราวไม้ไผ่หุ้มผ้าขาว หลังพิงราวไม้ไผ่อีกราว ท่านั่งกำหนดให้พระยายืนชิงช้า เอาเท้าซ้ายยันพื้นดิน เอาเท้าขวาพาดเข่าซ้าย มีกติกา ถ้าเท้าขวาตกเหยียบแผ่นดิน
ส่วยแลอากรซึ่งมาแต่หัวเมืองต่างๆ ตลอดจนเครื่องบรรณาการพระราชทานที่ได้ระหว่างเวลาพิธีจะต้องตกเป็นของพราหมณ์ พระยายืนชิงช้าที่ปล่อยเท้าขวาตกดิน เคยปรากฏในสมัยรัชกาลที่ 2 ชื่อ เจ้าพระยาพลเทพ (ทองอิน) ส่วนคนโล้ชิงช้า เรียก นาลิวัน ขึ้นโล้ชิงช้าสามกระดาน กระดานละสี่คน ถุงเงินกระดานแรก 3 ตำลึง กระดานที่สอง 10 บาท กระดานที่สาม 2 ตำลึง
เริ่มต้น...คนโล้ชิงช้าขึ้นไปนั่งถวายบังคม แล้วเริ่มโล้ชิงช้าจนชิงช้าโยนแรง จึงลุกขึ้นยืน คนหน้าคอยคาบเงินที่ผูกไว้ปลายไม้ คนหลังคอยแก้ท้ายชิงช้าให้ตรงเสาเงิน เมื่อนาลิวัน 12 โล้ชิงช้าคาบถุงเงินได้หมดแล้วลงจากชิงช้า ยกขันสาครมีน้ำเต็มตั้งหน้าชมรม “รำเสนงสาดน้ำกันครบสามเสนง”
พิธีตรียัมปวาย พระอิศวรโล้ชิงช้า จะมีตั้งแต่ขึ้น 1 ค่ำ เดือนอ้าย ถึงวันแรมค่ำ เสร็จแล้วเริ่มพิธี “ตรีปวาย” พระนารายณ์เสด็จโล้ชิงช้าต่อ วันแรมค่ำไปถึงวันแรม 5 ค่ำ
มีคำพูดติดปากกันว่า “แห่พระนเรศวร์เดือนหงาย แห่พระนารายณ์เดือนมืด”
สมัยรัตนโกสินทร์ มีพระราชพิธีโล้ชิงช้า ติดต่อกันมาหลายรัชกาล จนถึงสมัยรัชกาลที่ 7 เศรษฐกิจตกต่ำ เงินท้องพระคลังมีน้อย รายจ่ายไม่จำเป็นถูกตัด พิธีโล้ชิงช้า ยกเลิกไปเมื่อ พ.ศ.2477 พระยาชลมารคพิจารณ์ (ม.ล.พงศ์ สนิทวงศ์) เป็นพระยายืนชิงช้าคนสุดท้าย
พระราชพิธีโล้ชิงช้า พิธี (เทพ) เจ้า ต้อนรับปีใหม่มีก่อนช่วงเวลาน้ำท่วม...ราชสำนักตั้งแต่สมัยอยุธยามาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ เริ่มพระราชพิธี...ไล่เรือ หรือไล่น้ำ เป็นพระราชพิธีทางพุทธศาสนา...เปลี่ยนจากขอพึ่ง (เทพ) เจ้า มาเป็นขอพึ่งพระ (พุทธรูป) พระพุทธรูปที่ใช้ แต่เดิมใช้ “พระชัย” หรือ “พระคันธารราษฎร์” มาถึงสมัยรัชกาลที่ 3 เปลี่ยนมาใช้พระพุทธรูปยืนยกมือสองข้างน้ำท่วม เรียกปางห้ามสมุทร ในปี พ.ศ. ๒๔๗๗ ได้มีการยกเลิกพระราชพิธีตรียัมปวาย – ตรีปวาย
______________________________________
ภาพ : มหาอำมาตย์ตรีพระยาประดิพัทธภูบาล (คออยู่เหล ณ ระนอง) ขณะเป็นพระยายืนชิงช้าในพระราชพิธีตรียัมปวาย ในปี มะแม พ.ศ. ๒๔๗๔ ตรงกับรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
ขอขอบพระคุณภาพ / ข้อมูล
Cr. อนุเคราะห์ภาพจาก : พ.ท.วิภู เลาหะคามิน
Cr. วาทิน ศานติ์ สันติ
Cr. สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ส.พลายน้อย สถาพรบุ๊คส์
เรียบเรียงโดย : Yoong Ja
: ย้อนอดีตด้วยภาพ
: กลุ่มภาพเก่าในอดีตที่มีคุณค่า
: ค้นหาภาพในอดีต
ขอขอบคุณข้อมูล/ภาพ จาก : fb Yoong Ja
.....
ความศักดิ์สิทธิ์ภายในพิธีมังคลาภิเษกเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี และพระผงของขวัญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ณ วัดอรุณราชวราราม
งานพิธีมังคลาภิเษกเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี และพระผงของขวัญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี เนื่องในวาระครบรอบ ๒๕๕ ปีกรุงธนบุรี และพระเดชพระคุณหลวงพ่อ พระพรหมวชิรเมธี เจ้าคณะภาค ๙ เจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม มีอายุวัฒนะมงคล ๘๐ ปี โดยประกอบพิธีภายในโบสถ์น้อย วัดอรุณราชวราราม เมื่อวันที่ ๑๗ ธ.ค ๒๕๖๖ ที่ผ่านมา
ผมอาจารย์ไก่ ทิพยจักร ได้พาหมู่คณะเข้าร่วมพิธีมหามงคลอันศักดิ์สิทธิ์ครั้งนี้ ซึ่งจากบรรยากาศและการสัมผัสกับกระแสความศักดิ์สิทธิ์จากภายในงานครั้งนี้ พบว่าคณะศิษย์แต่ละคนต่างเล่าถึงความรู้สึกจากภาายในงานต่างๆกัน บางท่านเล่าว่า เมื่อเข้ามาสู่ปริมณฑลพิธีก็รู้สึกถึงพลังงานที่อัดแน่น เป็นเหล่าเทพเทวาที่มาประชุมกัน จนรู้สึกสั่นน้อยๆ และอาการต่างๆอีกมาก
และอีกหลายท่านเล่าว่าขนลุก เกิดปีติ บางท่านรู้สึกถึงกระแสพลังงานจากเบื้องบนที่เชื่อมลงมาสู่ปริมณฑล อาการความสัมผัสทั้งหลายเหล่านี้เกิดขึ้นกับคนจำนวนมาก หนึ่งในงานวันนั้นผมเชิญอาจารย์อองตวนชาวฝรั่งเศษที่สนใจทางจิตศาสตร์ ท่านเล่าให้ฟังว่า ในขณะเริ่มพิธีในโบสถ์น้อย ท่านสัมผัสกระแสพลังงานดิ่งลงมาจากเบื้องบนเป็นพลังงานที่รุนแรงทรงพลังมากๆ ซึ่งทำให้เกิดอาการขนลุกสะท้านไปทั้งตัว
ส่วนตัวผมนั้นรู้สึกทางใจถึงเทพยดาที่ลงมาในงานและมาร่วมอนุโมทนา เป็นพลังงานที่แรงมาก ตั้งแต่ก่อนเริ่มพิธีจนจบพิธี ดวงพระวิญญาณของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเสด็จลงมาแน่นอนพร้อมทั้งเหล่าทหารกล้าและบรรพบุรุษต่างมาร่วมอนุโมทนาในงานครั้งนี้และร่วมปลุกเสกแผ่พลังแห่งความกล้าหาญ ชัยชนะลงสู่มงคลวัตถุเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี และพระผงของขวัญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
ผมถามในใจว่าวัตถุมงคลนี้จะดีด้านใด ก็ได้รับคำตอบว่าผู้ที่มีวัตถุมงคลรุ่นนี้จะไม่จน ไม่แพ้ จะมีพลังจิตพลังกายกล้าหาญ มีตบะอำนาจ ไม่หวั่นเกรงภยันอันตรายและไม่มีศัตรูหมู่มารภูติผีปีศาจใดๆมาทำร้ายมากล้ำกรายได้ จะเป็นผู้มีชัยชนะอยู่เหนืออุปสรรค อยู่เหนือความจน อยู่เหนือศัตรูคู่แข่งทั้งหลาย และตลอดที่อยู่บนแผ่นดินไทยจะร่มเย็นเป็นสุข ทำมาค้าขายดีมีกำไรเสมอไป
นี่คือสิ่งที่ผมสื่อได้จากภายในวันงานและจากคำบอกเล่าประสบการณ์ของผู้ที่มาในวันนั้น จึงขอยืนยันด้วยความรู้สึกจากภายในตัวผมว่าวัตถุมงคลรุ่นมหาเศรษฐีที่จัดสร้างครั้งนี้ สมเด็จพ่อพระเจ้าตากสินมหาราชและทหารกล้าอีกทั้งบรรพบุรุษลงมาเสกประสิทธิด้วยพระองค์เองเป็นวัตถุมงคลที่เข้มขลังมาก ทรงพลังมาก มีอานุภาพมากเกินกว่าจะพรรณาได้ทั้งหมด ทั้งนี้ใครได้ไว้ถือเป็นบุญเป็นมหามงคลของชีวิตผู้นั้นโดยแท้
ท่านผู้ศรัทธาสามารถร่วมบุญบูชาได้ที่ ศาลาอรุณนราภิรมย์ วัดอรุณราชวราราม สอบถามประชาสัมพันธ์ คุณนพรัตน์ มงคลวิเชียร เบอร์ 064-815-5141 ไอดีไลน์ NOPPARUTNONG
ปล.กำหนดการแจกฟรี พระผงของขวัญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
1.สำหรับบุคคลทั่วไป กำหนดให้มีการแจกฟรีเพียงครั้งเดียว ณ พระอุโบสถน้อย วัดอรุณราชวราราม ในวันอาทิตย์ ที่ 17 ธันวาคม 2566 หลังเสร็จพิธีมหาพุทธาเทวาภิเษก
2.สำหรับศาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชจากทั่วประเทศ ที่สนใจจะขอรับเป็นสื่อกลางในสะพานบุญครั้งนี้ ติดต่อที่ คุณนพรัตน์ มงคลวิเชียร เบอร์ 064-815-5141 ไอดีไลน์ NOPPARUTNONG
ทิพยจักร
18 ธค 2566
วัตถุมงคลเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
วัตถุประสงค์
1.เพื่อหารายได้เข้ากองทุนการศึกษาสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช วัดอรุณราชวราราม จำนวน 1,000,000 บาท
2.สร้างพระผงของขวัญแจกฟรีแก่ศาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทั่วประเทศ จำนวน 50,000 เหรียญ
รายการวัตถุมงคล เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
ลำดับที่ 1 เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ขนาด 3.5 เซนติเมตร
1.1 เนื้อทองคำ น้ำหนัก 22 กรัม ขึ้น - ลง จำนวนการสร้าง 59 เหรียญ บูชาเหรียญละ 75,000 บาท (หมดแล้ว)
1.2 เนื้อเงิน จำนวนการสร้าง 800 เหรียญ บูชาเหรียญละ 2,000 บาท
1.3 เนื้อทองแดงหน้าเงินลงยา สร้าง 8 สี 1.ลงยาสีธงชาติ 2.ลงยาสีแดง 3.ลงยาสีเหลือง 4.ลงยาสีชมพู 5.ลงยาสีเขียว 6.ลงยาสีส้ม 7.ลงยาสีฟ้า 8.ลงยาสีม่วง จำนวนการสร้างสีละ 800 เหรียญ รวมสร้าง 6,400 เหรียญ บูชาเหรียญละ 400 บาท
1.4 เนื้อทองสัมฤทธิ์เดช จำนวนการสร้าง 6,000 เหรียญ บูชาเหรียญละ 300 บาท
1.5 เนื้อทองแดง จำนวนการสร้าง 10,000 เหรียญ บูชาเหรียญละ 200 บาท
ลำดับที่ 2 เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ขนาด 2.5 เซนติเมตร
2.1 เนื้อทองคำ น้ำหนัก 10 กรัม ขึ้น - ลง จำนวนการสร้าง 59 เหรียญ บูชาเหรียญละ 38,000 บาท (หมดแล้ว)
2.2 เนื้อเงิน จำนวนการสร้าง 800 เหรียญ บูชาเหรียญละ 1,500 บาท
2.3 เนื้อทองแดงหน้าเงินลงยา สร้าง 8 สี 1.ลงยาสีธงชาติ 2.ลงยาสีแดง 3.ลงยาสีเหลือง 4.ลงยาสีชมพู 5.ลงยาสีเขียว 6.ลงยาสีส้ม 7.ลงยาสีฟ้า 8.ลงยาสีม่วง จำนวนการสร้างสีละ 800 เหรียญ รวมสร้าง 6,400 เหรียญ บูชาเหรียญละ 350 บาท
2.4 เนื้อทองสัมฤทธิ์เดช จำนวนการสร้าง 6,000 เหรียญ บูชาเหรียญละ 250 บาท
2.5 เนื้อทองแดง จำนวนการสร้าง 10,000 เหรียญ บูชาเหรียญละ 150 บาท
ลำดับที่ 3 เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เนื้อผงพุทธคุณ 108
3.1 ฝังตะกรุดทองคำ 1 คู่ จำนวนการสร้าง 300 เหรียญ บูชาเหรียญละ 1,500 บาท
3.2 ฝังตะกรุดเงิน 1 คู่ จำนวนการสร้าง 500 เหรียญ บูชาเหรียญละ 600 บาท
ลำดับที่ 4 เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ชุดกรรมการ จัดรวม 100 ชุด (หมายเลขเดียวกัน) บูชาชุดละ 12,500 บาท (หมดแล้ว)
(ชุดกรรมการ 1 ชุด ได้รับเหรียญทั้งหมด 24 เหรียญ ประกอบด้วย 4.1 เนื้อเงิน ทั้งขนาด 3.5 เซนติเมตร และขนาด 2.5 เซนติเมตร 4.2 เนื้อทองแดงหน้าเงินลงยา 8 สี ทั้งขนาด 3.5 เซนติเมตร และขนาด 2.5 เซนติเมตร 4.3 เนื้อทองสัมฤทธิ์เดช ทั้งขนาด 3.5 เซนติเมตร และขนาด 2.5 เซนติเมตร 4.4 เนื้อทองแดง ทั้งขนาด 3.5 เซนติเมตร และขนาด 2.5 เซนติเมตร 4.5 เนื้อผงพุทธคุณ 108 แบบฝังตะกรุดทองคำ และแบบฝังตะกรุดเงิน)
รายนามพระเกจิอาจารย์ผู้เรืองวิทยาคมร่วมอธิษฐานจิตปลุกเสก เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่มมหาเศรษฐี
1.พระพรหมวัชรเมธี เจ้าคณะภาค๙ เจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม กรุงเทพฯ
2.พระภาวนาวิสุทธิโสภณ (หลวงพ่อสุรศักดิ์) วัดประดู่ พระอารามหลวง สมุทรสงคราม
3.พระครูสุวรรณโชติวุฒิ (หลวงพ่อตี๋) วัดหูช้าง นนทบุรี
4.พระครูวิลาศกาญจนธรรม (หลวงพ่อเล็ก) วัดท่าขนุน กาญจนบุรี
5.พระครูภาวนาภัทรคุณ (ท่านพ่ออติโชติ) วัดพุทไธสวรรย์ อยุธยา
6.พระครูยติธรรมานุยุต (หลวงพ่อแป๊ะ) วัดสว่างอารมณ์ นครปฐม
7.พระครูประภาสธรรมทัต (หลวงพ่อป้อม) วัดหนองม่วง ราชบุรี
8.พระปลัดอำพล ฐิตปุญฺโญ (หลวงพ่ออ๊อด) วัดหูช้าง นนทบุรี
9.พระครูสมุห์คำนวน ปริสุทฺโธ (หลวงพ่อนวล) วัดแก้วเจริญ สมุทรสงคราม
10.พ่อครูศิริพงษ์ ครุพันธ์กิจ (เกจิฆราวาสผู้เรืองวิทยาคมที่มีความศรัทธาในพระองค์ท่านเป็นอย่างยิ่ง)
รายนามคณะกรรมการการจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่มมหาเศรษฐี
ประธานฝ่ายสงฆ์ การจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
พระเดชพระคุณหลวงพ่อ พระพรหมวัชรเมธี เจ้าคุณะภาค๙ เจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม
ประธานที่ปรึกษาฝ่ายสงฆ์ การจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
พระวชิรรัตนาภรณ์ ดร. (ชุมพร) เลขาเจ้าคุณะภาค๙ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม
ประธานที่ปรึกษาฝ่ายฆราวาส การจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
พ่อครูศิริพงศ์ ครุพันธ์กิจ
ประธานการจัดสร้าง เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
คุณอัครวิทย์ รัตนประสิทธิ์ (วิทย์ วัดอรุณ)
ประธานอุปถัมภ์ การจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
1.พลเอก ดร.เดชา เหมกระศรี นายกสมาคมกีฬาจักรยานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมถ์
2.คุณวันชัย ลาภวิไลพงศ์ (โต วัดอรุณ) ประธาน กต.ตร สถานนีตำรวจนครบาลบางกอกใหญ่
3.คุณธนิตย์ ลี้ชัยศิริมงคล (เสี่ยบุ้ง) เจ้าของร้านทองซิงแสงนภาโกลด์ (SSNP GOLD)
รองประธานอุปถัมภ์ การจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
1.คุณณัฐกาญจน์ ทรัพย์โภค ฝ่ายประชาสัมพันธ์และแนะแนว คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยปทุมธานี
ประธานที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ การจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
คุณยายสมใจ ณ นคร ประธานมูลนิธิ ณ นคร และสายสัมพันธ์
รองประธานที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ การจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
คุณจารุวัตร จันทร์โพธิ์ศรี(อาจารย์ไก่ ทิพยจักร)
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ การจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
พลโท ชัยธัช สุวรรณกาญจน์ ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษ กองทัพบก
พลโท โกศล ชูใจ ที่ปรึกษาพิเศษ สำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
พลเรือโท ธัชพงศ์ บุษบง ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษ กองทัพเรือ
ท่านพิทักษ์ อบสุวรรณ อัยการอาวุโส สำนักงานคดียาเสพติด
ท่านสุภาภรณ์ นิปวณิชย์ อัยการผู้เชี่ยวชาญ สำนักงานอัยการพิเศษฝ่ายคดียาเสพติด 9
ท่านชิติพัทธ์ คงมาก อัยการจังหวัดคุ้มครองสิทธิและการบังคับคดีจังหวัดราชบุรี
ท่านอาณัติ ศรีสุดดี อัยการจังหวัดชัยบาดาล
พันเอก(พิเศษ) มหินท์ ตุงคะเศรณี ผู้อำนวยการกองการศึกษา โรงเรียนทหารสารวัตร
พันเอก(พิเศษ) เสกสรรค์ พรหมศักดิ์ รองผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่ 12
คุณณรงค์ วโรดมสถาน (ออด) กรรมการบริหารสมาคมผู้สื่อข่าวต้านคอร์รัปชั่น(ประเทศไทย)
คุณปริญญา แก้วตัน (ล้าน) กรรมการบริหารสมาคมผู้สื่อข่าวต้านคอร์รัปชั่น(ประเทศไทย)
คณะกรรมการจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
พระครูพิสิฐสรวุฒิ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม
พระครูพิสุทธิสรคุณ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม
พระครูสมุห์ประครอง สุปติฏฺฐิโต วัดอรุณราชวราราม
พระมหาสุวิทย์ ปวิชฺชกิตฺติ วัดอรุณราชวราราม
พระมหากนกพล ธมฺมธีโร วัดอรุณราชวราราม
พระมหาณัฐนนท์ เขมานนฺโท วัดอรุณราชวราราม
พระมหาไตรภพ ติสฺสนาโค วัดอรุณราชวราราม
พระมหาหัสดี จรณธมฺโม วัดอรุณราชวราราม
พระครูปลัดธนันท์รัฐ โชติธมฺโม วัดประยุรวงศาวาส
คุณฉัตรชัย ทองสวัสดิ์
คุณสมบัติ ทองสวัสดิ์ ประธานชุมชนปรกอรุณ
คุณวรวิทย์ โชคขจิตสัมพันธ์ ประธานชุมชนลานมะขาม-บ้านหม้อ
คุณสมโภชน์ สูงโพธิ์ ประธานชุมชนข้างโรงเรียนพาณิชยการราชดำเนิน
คุณนพรัตน์ มงคลวิเชียร (แว่น วัดอรุณ)
คุณสมเกียรติ เสิศกาญจนาพร (หยอง วัดอรุณ)
คุณประพัฒน์ จันทร์วันเพ็ญ (แต๊บ วัดอรุณ)
คุณกฤษณะ เนาว์สถาน (นะ เมืองเพชร)
คุณกมล เล้าโสภาภิรมย์ (เตี้ย สวนทะเล)
คุณสรยุทธ์ จุลเจริญนนท์ (ป้อม punk berry)
คุณจันทร์ดาราอัปสร รัตนประสิทธิ์ (อาจารย์ฝนทิพย์)
คุณบัญชา ปานนิวัฒน์ (ป๋าชู วัดเศวต)
คุณสุชาดา ปานนิวัฒน์ (เจ้แป้น วัดเศวต)
คุณวิโรจน์ หอมหวาน (ทนายโรจน์ เพชรบุรี)
คุณมนตรี วิไลสมสกุล (ติ๊ก จันทบุรี)
คุณชลัช ชมเจริญ (กุ้ง ท่าพระจันทร์)