ภาพเก่าเล่าอดีต เจ้าบุญทวงษ์ อุปราชที่มีบทบาทสูงเทียบเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่
กะฉ่อนวาไรตี้
ภาพเก่าเล่าอดีต เจ้าบุญทวงษ์ อุปราชที่มีบทบาทสูงเทียบเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่
เจ้าบุญทวงษ์ อุปราชที่มีบทบาทสูงเทียบเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่
เจ้าอุปราช (บุญทวงษ์) เป็นเจ้าอุปราชนครเชียงใหม่ในรัชสมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ ๗ ถือเป็นเจ้าอุปราชที่มีบทบาทสูงเทียบเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ เพราะสามารถยกเลิกคำสั่งของเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ได้ จนมีการกล่าวว่าหากเจ้าอุปราช (บุญทวงษ์) ยังมีพระชนม์อยู่ การแทรกแซงจากสยามจะกระทำได้ยากยิ่ง เจ้าบุญทวงษ์ เป็นโอรสในพระยาราชวงศ์ (มหาพรหมคำคง) กับแม่เจ้าคำหล้า และมีศักดิ์เป็นหลานของพระยาคำฟั่น เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ ๓ มีราชอนุชาและราชขนิษฐา ร่วมราชบิดา ๑๖ พระองค์ มีพระนามตามลำดับ ดังนี้
1 พระเจ้าอินทวิชยานนท์ พระเจ้านครเชียงใหม่
2 เจ้าอุปราชบุญทวงษ์ เจ้าอุปราชนครเชียงใหม่
3 เจ้าราชภาติกวงศ์ น้อยเทพวัง เจ้าราชภาติกวงศ์นครเชียงใหม่
4 เจ้าน้อยไชยลังกา
5 เจ้าหญิงฟองนวล
6 เจ้าหญิงดวงเทพ
7 เจ้าหญิงบุญฝ้าย
8 เจ้าหญิงคำทิพย์
9 เจ้าน้อยไชยวงศ์
10 เจ้าดวงทิพย์ - เจ้าปู่ใน "เจ้าทิพย์สมาตย์ ณ เชียงใหม่" "คุณหญิง เจ้าฉมชบา (ณ เชียงใหม่) วรรณรัตน์" "เจ้าวัฒนา (ณ เชียงใหม่) โชตนา"
11 เจ้าบุญสม
12 เจ้าหญิงบัวใส
13 เจ้าหญิงบัวเที่ยง
4 เจ้าหญิงกาบเมือง
15 เจ้าน้อยอ๋อ
16 เจ้าหญิงแว่นคำ
17เจ้าบุญทวงษ์ สมรสกับ เจ้าฟองแก้ว มีโอรส ๔ พระองค์ คือ
๑. เจ้าสิงห์โต
๒. เจ้าโสรส
๓. เจ้าราชบุตร (คำตื้อ)
๔. เจ้าแสงเมือง
เจ้าบุญทวงษ์ มีบทบาทในการช่วยพระเชษฐาปฏิบัติภารกิจเมื่อครั้งยังมิได้ดำรงตำแหน่งเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ กระทั่งในปี พ.ศ. ๒๔๑๖ พระเจ้าอินทวิชยานนท์ ได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ ต่อมาเจ้าหลวงได้มอบหมายให้เจ้าบุญทวงษ์ นำเครื่องบรรณาการไปถวายที่สยาม จึงได้รับพระมหากรุณาธิคุณพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็น "เจ้าอุปราช" ในปี พ.ศ. ๒๔๑๖ ภายหลังจากที่พระเจ้าอินทวิชยานนท์ ได้รับโปรดเกล้าฯ เป็นเจ้าหลวงแล้ว ๖ เดือน ในตำแหน่งเจ้าอุปราชนั้น
เจ้าบุญทวงษ์ ได้ปฏิบัติหน้าที่เสมือนเป็นเจ้าหลวงองค์ที่ ๒ ปฏิบัติหน้าที่แม่ทัพในยามสงคราม เป็นผู้อำนวยการรักษาความสงบในอาณาจักรยามสงบ และเป็นหัวหน้าคณะลูกขุนตุลาการพิจารณาโทษ สมัย เจ้าหลวงอินทวิชยานนท์ มีบุคคลสำคัญ ที่มีอำนาจในการปกครองอยู่ สองคน หรือบางครั้ง มีอำนาจมากกว่าเจ้าหลวง เสียอีก
และ เป็นคนคอยเป็นหูเป็นตาแทนเจ้าหลวง คือ เจ้าอุปราชบุญทวงษ์ และ เจ้าทิพเกสร (ชายาเจ้าอินทวิชยานนท์) เจ้าอุปราชบุญทวงษ์ เป็นน้องชายถัดจาก เจ้าอินทวิชยานนท์ สมัยที่เจ้าอินทวิชยานนท์ เป็นเจ้าหลวง เจ้าอุปราชบุญวงษ์ ดำรงตำแหน่งเจ้าอุปราชเมืองเชียงใหม่ มีบทบาท ในการปกครองมากๆ บางครั้งมีอำนาจมากกว่าเจ้าหลวงอีก
มีหลักฐาน จากบันทึกของคณะมิชชันนารี ที่เริ่มเข้ามา เผยแพร่ศาสนาคริสต์ในล้านนา กล่าวถึง เจ้าอุปราชบุญทวงษ์ ว่า "ในสมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์ กิจการบริหารบ้านเมือง ตกอยู่ในความดูแลของ เจ้าอุปราชบุญทวงษ์ และ แม่เจ้าทิพเกสรพบว่าเจ้าอุปราชบุญทวงษ์ สามารถมีคำสั่งปฏิเสธ หรือ ลบล้างคำสั่ง ของพระเจ้าอินทวิชยานนท์ได้เสมอ ทำให้เห็นว่า เมืองเชียงใหม่สมัยที่เจ้าบุญทวงษ์ เป็น อุปราชนั้น เสมือนว่ามีเจ้าหลวง สององค์ ครองบัลลังก์ร่วมกัน โดยเจ้าอุปราชบุญทวงษ์ อยู่ในฐานะ เจ้าหลวงองค์ที่สอง เจ้าอุปราชบุญทวงษ์
ได้เริ่มบทบาทในการช่วยปกครองนครเชียงใหม่ ตั้งแต่สมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์ฯ พระเชษฐา ตั้งแต่ในเหตุการณ์ยุ่งเหยิง ในช่วงการต่อรัชสมัยการปกครอง ที่ พระเจ้ากาวิโรรสฯ ถึงแก่พิราลัย จากการเดินทางกลับกรุงเทพฯ ในวันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๔๑๓ ณ ริมฝั่งแม่น้ำปิง ตำบลสันพระเนตร (ปัจจุบันอยู่ในเขตเชียงใหม่/ลำพูน) และ ยังมิได้มีการปลงพระศพ
แต่อย่างใด ในระยะห่างกันไม่ถึงเดือน เจ้าราชภาคินัยแผ่นฟ้า (พระบิดาแม่เจ้าจามรี) ก็ถึงแก่กรรมอีก ในช่วงนี้จึงเกิดเหตุการณ์พวกพม่า ลื้อ เขิน เมืองเชียงตุง ซึ่งเป็นคนในบังคับบัญชาของอังกฤษ อพยพเข้ามา ตั้งบ้านเรือนอยู่ที่เชียงแสนโดยพลการ และ พวกเงี้ยวเมืองหมอกใหม่ กับ พวกไทลื้อจำนวนหนึ่ง ได้คุมกันเป็นกองโจรปล้น ฆ่าราษฏรเข้ามาถึงบ้านสะวงหนองก๋าย และป่าแง เขตอำเภอแม่ริม ห่างจากเชียงใหม่ ๓๐ กิโลเมตร ทางเชียงใหม่ จึงมีหนังสือแจ้งข้อราชการลงไปกรุงเทพฯ
โดยให้เจ้าบุญทวงษ์ เป็นผู้นำความกราบบังคมทูล พระเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าอุปราชอินทนนท์ท ว่าราชการบ้านเมือง สืบแทนพระเจ้ากาวิโรรสฯ และให้ เจ้าบุญทวงษ์ ดำรงตำแหน่งว่าที่อุปราชเมืองเชียงใหม่ แทนที่ต่อไป ส่วนเรื่องที่กราบบังคมทูลนั้น ให้จัดการแต่งคนไปว่ากล่าวให้พวกพม่า ไทลื้อ ไทเขิน ที่ได้อพยพเข้ามานั้น ให้อพยพกลับคืนไป ยังภูมิลำเนาเดิม หากจะอาศัยอยู่ในพระราชอาณาจักรสยามต่อไป จะต้องยอมอยู่ในการปกครองของเจ้าเชียงใหม่ และ เจ้าเชียงราย ต่อมาในเดือน ๑๒ ปีระกา เบญจศก จุลศักราช ๑๒๓๕ (พ.ศ. ๒๔๑๖) ว่าที่อุปราชบุญทวงษ์
ได้รับมอบหมาย ให้คุมเครื่องราชบรรณาการไปทูลเกล้าฯถวาย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ตั้งเป็นเจ้าอุปราชนครเชียงใหม่ ในตำแหน่งเจ้าอุปราชเจ้าบุญทวงษ์ ท่านได้รับหน้าที่เป็นนายทัพในยามสงคราม เป็นผู้อำนวยการรักษาความสงบภายใน ในยามปกติ และ เป็นหัวหน้าลูกขุนตุลาการพิจารณาโทษ ผู้ฝ่าฝืนอาชญากรรมของเจ้าผู้ครองนคร ซึ่งทานก็ได้ทำหน้าที่ด้วย ความเข้มแข็ง เด็ดขาด จนเป็นที่กล่าวขาน และ ยำเกรงกันมาก
เจ้าอุปราชบุญวงษ์ ท่านเป็นคนที่ย้ายคนที่ถูกกล่าวหาว่าเป็น "ผีกะ" แถบบ้านตองกาย และหลายหมู่บ้านในตัวเวียงเชียงใหม่ ไปไว้แถวอำเภอพาน เชียงราย เพื่อป้องกันความขัดแย้ง ระหว่างหมู่บ้านในสมัยนั้น ส่วนเจ้าหญิงทิพเกสร เป็นธิดาเจ้าหลวงกาวิโรรสสุริยะวงศ์ ซึ่งท่านมีเลือดนักปกครองอยู่แล้ว จึงมีบทบาททั้งในคุ้ม และ นอกคุ้ม เป็นคนที่ฉลาด รู้ทันคน มีไหวพริบมาก จนหมอสอนศาสนาออกปากชมความเก่งของท่าน มีครั้งหนึ่งท่านได้สั่งประหารเจ้านายเมืองลำพูน ที่มาแทงช้างของเจ้าหลวงอินทวิชยานนท์ ด้วยความคึกคะนองตามประสาวัยรุ่น
เจ้าทิพเกสรถือว่าเป็นการหมิ่นเกียรติเจ้าหลวง ให้เจ้าสัมพันธ์วงศ์ธรรมลังกา นำตัวจากลำพูน มา เชียงใหม่ เพื่อสอบสวน แต่เจ้าหญิงทิพเกสร และ เจ้าอุปราชบุญทวงษ์ กลับออกมาดักขบวนคุมนักโทษจาก ลำพูน ที่ท่าวังตาล แล้ว สั่งประหารนักโทษ ก่อนที่จะเข้าเวียงเชียงใหม่ ดังคำกล่าวของเจ้าหญิงทิพเกสร " ผีมันไขจะตายแล้วฮีบไขค้าง"
แต่เสียดายที่ทั้ง สองท่าน มีอายุสั้นกันทั้งคู่ มีคนกล่าวว่า ถ้าสองท่านนี้ยังอยู่ การแทรกแซงอำนาจจากสยาม ที่จะเข้ามาใน นครเชียงใหม่ ในครานั้นจะกระทำได้ยากยิ่งนัก เจ้าอุปราชบุญทวงษ์ ถึงแก่กรรมในปี พ.ศ. ๒๔๒๕ ก่อนเจ้าแม่ทิพเกสรสองปี ซึ่งยังอยู่ในช่วงท้าย สมัยการปกครองของ พระเจ้าอินทวิชยานนท์
ภาพแรก เจ้าอุปราช (บุญทวงษ์) ถ่ายโดยหลวงอัคนีนฤมิตร (จิตร จิตราคนี)
ขอขอบพระคุณภาพ / ข้อมูล
Cr. ประวัติศาสตร์ล้านนา
Cr. แป้หม่าเก่า Ancient Phrae
เรียบเรียงโดย : Yoong Ja
: ย้อนอดีตด้วยภาพ
: กลุ่มภาพเก่าในอดีตที่มีคุณค่า
: ค้นหาภาพในอดีต
ขอขอบคุณข้อมูล/ภาพ จาก : fb Yoong Ja
.....
พิธีมหาพุทธา-มังคลาภิเษก พระพุทธนฤมิตร รูปหล่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช สบทบทุนการบูรณะกำแพงโบราณ และเพื่อสวัสดิการพระภิกษุสามเณรภายในพระอาราม วัดอรุณราชวราราม
คณะสงฆ์วัดอรุณราชวราราม โดย พระเดชพระคุณหลวงพ่อ พระพรหมวัชรเมธี ที่ปรึกษามหาเถรสมาคม เจ้าคณะภาค ๙ เจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม มอบหมายให้ พระเดชพระคุณ พระวชิรรัตนาภรณ์ ดร. (ชุมพร นิติสาโร) เจ้าคณะแขวงวัดอรุณ เลขานุการเจ้าคณะภาค ๙ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม เลขานุการวัดอรุณราชวราราม
จัดสร้าง พระพุทธนฤมิตร และ รูปหล่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เพื่อสบทบทุนการบูรณะกำแพงโบราณรอบพระอาราม และเพื่อสวัสดิการพระภิกษุสามเณรภายในพระอาราม วัดอรุณราชวราราม
เมื่อวันเสาร์ ที่ ๒๘ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๗ ณ มณฑลพิธีพระพุทธปรางค์ วัดอรุณราชวราราม เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร เวลา ๑๗.๐๙ น. เจ้าประคุณ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (สนิท ชวนปญฺโญ ป.ธ.๙) กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะใหญ่หนตะวันออก เจ้าอาวาสวัดไตรมิตรวิทยาราม เมตตาเป็นประธานจุดเทียนชัย พิธีมหาพุทธา-มังคลาภิเษก พระพุทธนฤมิตร และ รูปหล่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เจ้าประคุณ สมเด็จพระมหารัชมงคลมุนี (ธงชัย ธมฺมธโช ป.ธ.๖) กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะใหญ่หนกลาง ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไตรมิตรวิทยาราม เมตตาเป็นประธานดับเทียนชัย
รายนามพระเถราจารย์นั่งปรกอธิษฐานจิต
๑. เจ้าประคุณ สมเด็จพระพุฒาจารย์ วัดไตรมิตรวิทยาราม กรุงเทพมหานคร
๒. เจ้าประคุณ สมเด็จพระมหารัชมงคลมุนี วัดไตรมิตรวิทยาราม กรุงเทพมหานคร
๓. พระเดชพระคุณ พระพรหมวัชรเมธี วัดอรุณราชวราราม กรุงเทพมหานคร
๔. พระราชพัฒนากร (หลวงพ่อสมชาย) วัดปริวาสราชสงคราม กรุงเทพมหานคร
๕. พระราชภาวนาวชิราจารย์ วิ. (หลวงพ่อสุรศักดิ์ วัดประดู่ จ.สมุทรสงคราม
๖. พระราชวชิรวิทยานุสิฐ (หลวงพ่อวราห์) วัดโพธิ์ทอง กรุงเทพมหานคร
๗. พระราชสิริวัชรรังษี (หลวงพ่อชำนาญ) วัดชินวราราม จ.ปทุมธานี
๘. พระนันทวิริยาภรณ์ (หลวงพ่ออ่าง) วัดใหญ่สว่างอารมณ์ จ.นนทบุรี
๙. พระวชิรรัตนรังษี (หลวงพ่อสมบูรณ์) วัดหงส์รัตนาราม กรุงเทพมหานคร
๑๐. พระวชิรญาณ วิ. (ท่านพ่ออติโชติ) วัดพุทไธศวรรย์ จ.พระนครศรีอยุธยา
๑๑. พระครูนิวิฐมณีวงศ์ (หลวงพ่อสะอาด) วัดเขาแก้ว จ.นครสวรรค์
๑๒. พระครูสุวรรณโชติวุฒิ (หลวงพ่อตี๋) วัดหูช้าง จ.นนทบุรี
๑๓. พระครูอุดมภาวนาธิมุต (หลวงพ่อเพย) วัดบึง จ.พระนครศรีอยุธยา
๑๔. พระครูวิมลญาณอุดม (อาจารย์ติ๋ว) วัดมณีชลขันธ์ จ.ลพบุรี
๑๕. พระครูโกวิทชัยกิจ (หลวงพ่อวิชัย) วัดหัวเด่น จ.ชัยนาท
๑๖. พระอาจารย์เอกลักษณ์ ปญฺญาคโม วัดพุทธพรหมยาน จ.ฉะเชิงเทรา
๑๗. พระอาจารย์มหาวัฒน์ วิวฑฺฒนเมธี ป.ธ.๙ วัดหลวงพ่อสมปรารถนา จ.กาฬสินธุ์
ติดต่อสอบถามและร่วมบุญบูชาได้ที่ ศาลาอรุณนราภิรมย์ วัดอรุณราชวราราม
พระวชิรรัตนาภรณ์ ดร. โทร. 085-569-1616
พระครูพิสิฐสรวุฒิ โทร. 094-869-7225
พระมหาปิยะนัฐ ปิยรตโน โทร. 096-249-9929
ขอขอบคุณภาพ จาก : fb สังคมพระใหม่
จุก วัดแจ้ง รายงาน
.....
ความศักดิ์สิทธิ์ภายในพิธีมังคลาภิเษกเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี และพระผงของขวัญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ณ วัดอรุณราชวราราม
งานพิธีมังคลาภิเษกเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี และพระผงของขวัญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี เนื่องในวาระครบรอบ ๒๕๕ ปีกรุงธนบุรี และพระเดชพระคุณหลวงพ่อ พระพรหมวชิรเมธี เจ้าคณะภาค ๙ เจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม มีอายุวัฒนะมงคล ๘๐ ปี โดยประกอบพิธีภายในโบสถ์น้อย วัดอรุณราชวราราม เมื่อวันที่ ๑๗ ธ.ค ๒๕๖๖ ที่ผ่านมา
ผมอาจารย์ไก่ ทิพยจักร ได้พาหมู่คณะเข้าร่วมพิธีมหามงคลอันศักดิ์สิทธิ์ครั้งนี้ ซึ่งจากบรรยากาศและการสัมผัสกับกระแสความศักดิ์สิทธิ์จากภายในงานครั้งนี้ พบว่าคณะศิษย์แต่ละคนต่างเล่าถึงความรู้สึกจากภาายในงานต่างๆกัน บางท่านเล่าว่า เมื่อเข้ามาสู่ปริมณฑลพิธีก็รู้สึกถึงพลังงานที่อัดแน่น เป็นเหล่าเทพเทวาที่มาประชุมกัน จนรู้สึกสั่นน้อยๆ และอาการต่างๆอีกมาก
และอีกหลายท่านเล่าว่าขนลุก เกิดปีติ บางท่านรู้สึกถึงกระแสพลังงานจากเบื้องบนที่เชื่อมลงมาสู่ปริมณฑล อาการความสัมผัสทั้งหลายเหล่านี้เกิดขึ้นกับคนจำนวนมาก หนึ่งในงานวันนั้นผมเชิญอาจารย์อองตวนชาวฝรั่งเศษที่สนใจทางจิตศาสตร์ ท่านเล่าให้ฟังว่า ในขณะเริ่มพิธีในโบสถ์น้อย ท่านสัมผัสกระแสพลังงานดิ่งลงมาจากเบื้องบนเป็นพลังงานที่รุนแรงทรงพลังมากๆ ซึ่งทำให้เกิดอาการขนลุกสะท้านไปทั้งตัว
ส่วนตัวผมนั้นรู้สึกทางใจถึงเทพยดาที่ลงมาในงานและมาร่วมอนุโมทนา เป็นพลังงานที่แรงมาก ตั้งแต่ก่อนเริ่มพิธีจนจบพิธี ดวงพระวิญญาณของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเสด็จลงมาแน่นอนพร้อมทั้งเหล่าทหารกล้าและบรรพบุรุษต่างมาร่วมอนุโมทนาในงานครั้งนี้และร่วมปลุกเสกแผ่พลังแห่งความกล้าหาญ ชัยชนะลงสู่มงคลวัตถุเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี และพระผงของขวัญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
ผมถามในใจว่าวัตถุมงคลนี้จะดีด้านใด ก็ได้รับคำตอบว่าผู้ที่มีวัตถุมงคลรุ่นนี้จะไม่จน ไม่แพ้ จะมีพลังจิตพลังกายกล้าหาญ มีตบะอำนาจ ไม่หวั่นเกรงภยันอันตรายและไม่มีศัตรูหมู่มารภูติผีปีศาจใดๆมาทำร้ายมากล้ำกรายได้ จะเป็นผู้มีชัยชนะอยู่เหนืออุปสรรค อยู่เหนือความจน อยู่เหนือศัตรูคู่แข่งทั้งหลาย และตลอดที่อยู่บนแผ่นดินไทยจะร่มเย็นเป็นสุข ทำมาค้าขายดีมีกำไรเสมอไป
นี่คือสิ่งที่ผมสื่อได้จากภายในวันงานและจากคำบอกเล่าประสบการณ์ของผู้ที่มาในวันนั้น จึงขอยืนยันด้วยความรู้สึกจากภายในตัวผมว่าวัตถุมงคลรุ่นมหาเศรษฐีที่จัดสร้างครั้งนี้ สมเด็จพ่อพระเจ้าตากสินมหาราชและทหารกล้าอีกทั้งบรรพบุรุษลงมาเสกประสิทธิด้วยพระองค์เองเป็นวัตถุมงคลที่เข้มขลังมาก ทรงพลังมาก มีอานุภาพมากเกินกว่าจะพรรณาได้ทั้งหมด ทั้งนี้ใครได้ไว้ถือเป็นบุญเป็นมหามงคลของชีวิตผู้นั้นโดยแท้
ท่านผู้ศรัทธาสามารถร่วมบุญบูชาได้ที่ ศาลาอรุณนราภิรมย์ วัดอรุณราชวราราม สอบถามประชาสัมพันธ์ คุณนพรัตน์ มงคลวิเชียร เบอร์ 064-815-5141 ไอดีไลน์ NOPPARUTNONG
ปล.กำหนดการแจกฟรี พระผงของขวัญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
1.สำหรับบุคคลทั่วไป กำหนดให้มีการแจกฟรีเพียงครั้งเดียว ณ พระอุโบสถน้อย วัดอรุณราชวราราม ในวันอาทิตย์ ที่ 17 ธันวาคม 2566 หลังเสร็จพิธีมหาพุทธาเทวาภิเษก
2.สำหรับศาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชจากทั่วประเทศ ที่สนใจจะขอรับเป็นสื่อกลางในสะพานบุญครั้งนี้ ติดต่อที่ คุณนพรัตน์ มงคลวิเชียร เบอร์ 064-815-5141 ไอดีไลน์ NOPPARUTNONG
ทิพยจักร
18 ธค 2566
วัตถุมงคลเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
วัตถุประสงค์
1.เพื่อหารายได้เข้ากองทุนการศึกษาสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช วัดอรุณราชวราราม จำนวน 1,000,000 บาท
2.สร้างพระผงของขวัญแจกฟรีแก่ศาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทั่วประเทศ จำนวน 50,000 เหรียญ
รายการวัตถุมงคล เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
ลำดับที่ 1 เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ขนาด 3.5 เซนติเมตร
1.1 เนื้อทองคำ น้ำหนัก 22 กรัม ขึ้น - ลง จำนวนการสร้าง 59 เหรียญ บูชาเหรียญละ 75,000 บาท (หมดแล้ว)
1.2 เนื้อเงิน จำนวนการสร้าง 800 เหรียญ บูชาเหรียญละ 2,000 บาท
1.3 เนื้อทองแดงหน้าเงินลงยา สร้าง 8 สี 1.ลงยาสีธงชาติ 2.ลงยาสีแดง 3.ลงยาสีเหลือง 4.ลงยาสีชมพู 5.ลงยาสีเขียว 6.ลงยาสีส้ม 7.ลงยาสีฟ้า 8.ลงยาสีม่วง จำนวนการสร้างสีละ 800 เหรียญ รวมสร้าง 6,400 เหรียญ บูชาเหรียญละ 400 บาท
1.4 เนื้อทองสัมฤทธิ์เดช จำนวนการสร้าง 6,000 เหรียญ บูชาเหรียญละ 300 บาท
1.5 เนื้อทองแดง จำนวนการสร้าง 10,000 เหรียญ บูชาเหรียญละ 200 บาท
ลำดับที่ 2 เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ขนาด 2.5 เซนติเมตร
2.1 เนื้อทองคำ น้ำหนัก 10 กรัม ขึ้น - ลง จำนวนการสร้าง 59 เหรียญ บูชาเหรียญละ 38,000 บาท (หมดแล้ว)
2.2 เนื้อเงิน จำนวนการสร้าง 800 เหรียญ บูชาเหรียญละ 1,500 บาท
2.3 เนื้อทองแดงหน้าเงินลงยา สร้าง 8 สี 1.ลงยาสีธงชาติ 2.ลงยาสีแดง 3.ลงยาสีเหลือง 4.ลงยาสีชมพู 5.ลงยาสีเขียว 6.ลงยาสีส้ม 7.ลงยาสีฟ้า 8.ลงยาสีม่วง จำนวนการสร้างสีละ 800 เหรียญ รวมสร้าง 6,400 เหรียญ บูชาเหรียญละ 350 บาท
2.4 เนื้อทองสัมฤทธิ์เดช จำนวนการสร้าง 6,000 เหรียญ บูชาเหรียญละ 250 บาท
2.5 เนื้อทองแดง จำนวนการสร้าง 10,000 เหรียญ บูชาเหรียญละ 150 บาท
ลำดับที่ 3 เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เนื้อผงพุทธคุณ 108
3.1 ฝังตะกรุดทองคำ 1 คู่ จำนวนการสร้าง 300 เหรียญ บูชาเหรียญละ 1,500 บาท
3.2 ฝังตะกรุดเงิน 1 คู่ จำนวนการสร้าง 500 เหรียญ บูชาเหรียญละ 600 บาท
ลำดับที่ 4 เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ชุดกรรมการ จัดรวม 100 ชุด (หมายเลขเดียวกัน) บูชาชุดละ 12,500 บาท (หมดแล้ว)
(ชุดกรรมการ 1 ชุด ได้รับเหรียญทั้งหมด 24 เหรียญ ประกอบด้วย 4.1 เนื้อเงิน ทั้งขนาด 3.5 เซนติเมตร และขนาด 2.5 เซนติเมตร 4.2 เนื้อทองแดงหน้าเงินลงยา 8 สี ทั้งขนาด 3.5 เซนติเมตร และขนาด 2.5 เซนติเมตร 4.3 เนื้อทองสัมฤทธิ์เดช ทั้งขนาด 3.5 เซนติเมตร และขนาด 2.5 เซนติเมตร 4.4 เนื้อทองแดง ทั้งขนาด 3.5 เซนติเมตร และขนาด 2.5 เซนติเมตร 4.5 เนื้อผงพุทธคุณ 108 แบบฝังตะกรุดทองคำ และแบบฝังตะกรุดเงิน)
รายนามพระเกจิอาจารย์ผู้เรืองวิทยาคมร่วมอธิษฐานจิตปลุกเสก เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่มมหาเศรษฐี
1.พระพรหมวัชรเมธี เจ้าคณะภาค๙ เจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม กรุงเทพฯ
2.พระภาวนาวิสุทธิโสภณ (หลวงพ่อสุรศักดิ์) วัดประดู่ พระอารามหลวง สมุทรสงคราม
3.พระครูสุวรรณโชติวุฒิ (หลวงพ่อตี๋) วัดหูช้าง นนทบุรี
4.พระครูวิลาศกาญจนธรรม (หลวงพ่อเล็ก) วัดท่าขนุน กาญจนบุรี
5.พระครูภาวนาภัทรคุณ (ท่านพ่ออติโชติ) วัดพุทไธสวรรย์ อยุธยา
6.พระครูยติธรรมานุยุต (หลวงพ่อแป๊ะ) วัดสว่างอารมณ์ นครปฐม
7.พระครูประภาสธรรมทัต (หลวงพ่อป้อม) วัดหนองม่วง ราชบุรี
8.พระปลัดอำพล ฐิตปุญฺโญ (หลวงพ่ออ๊อด) วัดหูช้าง นนทบุรี
9.พระครูสมุห์คำนวน ปริสุทฺโธ (หลวงพ่อนวล) วัดแก้วเจริญ สมุทรสงคราม
10.พ่อครูศิริพงษ์ ครุพันธ์กิจ (เกจิฆราวาสผู้เรืองวิทยาคมที่มีความศรัทธาในพระองค์ท่านเป็นอย่างยิ่ง)
รายนามคณะกรรมการการจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่มมหาเศรษฐี
ประธานฝ่ายสงฆ์ การจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
พระเดชพระคุณหลวงพ่อ พระพรหมวัชรเมธี เจ้าคุณะภาค๙ เจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม
ประธานที่ปรึกษาฝ่ายสงฆ์ การจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
พระวชิรรัตนาภรณ์ ดร. (ชุมพร) เลขาเจ้าคุณะภาค๙ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม
ประธานที่ปรึกษาฝ่ายฆราวาส การจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
พ่อครูศิริพงศ์ ครุพันธ์กิจ
ประธานการจัดสร้าง เหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
คุณอัครวิทย์ รัตนประสิทธิ์ (วิทย์ วัดอรุณ)
ประธานอุปถัมภ์ การจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
1.พลเอก ดร.เดชา เหมกระศรี นายกสมาคมกีฬาจักรยานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมถ์
2.คุณวันชัย ลาภวิไลพงศ์ (โต วัดอรุณ) ประธาน กต.ตร สถานนีตำรวจนครบาลบางกอกใหญ่
3.คุณธนิตย์ ลี้ชัยศิริมงคล (เสี่ยบุ้ง) เจ้าของร้านทองซิงแสงนภาโกลด์ (SSNP GOLD)
รองประธานอุปถัมภ์ การจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
1.คุณณัฐกาญจน์ ทรัพย์โภค ฝ่ายประชาสัมพันธ์และแนะแนว คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยปทุมธานี
ประธานที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ การจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
คุณยายสมใจ ณ นคร ประธานมูลนิธิ ณ นคร และสายสัมพันธ์
รองประธานที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ การจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
คุณจารุวัตร จันทร์โพธิ์ศรี(อาจารย์ไก่ ทิพยจักร)
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ การจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
พลโท ชัยธัช สุวรรณกาญจน์ ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษ กองทัพบก
พลโท โกศล ชูใจ ที่ปรึกษาพิเศษ สำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
พลเรือโท ธัชพงศ์ บุษบง ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษ กองทัพเรือ
ท่านพิทักษ์ อบสุวรรณ อัยการอาวุโส สำนักงานคดียาเสพติด
ท่านสุภาภรณ์ นิปวณิชย์ อัยการผู้เชี่ยวชาญ สำนักงานอัยการพิเศษฝ่ายคดียาเสพติด 9
ท่านชิติพัทธ์ คงมาก อัยการจังหวัดคุ้มครองสิทธิและการบังคับคดีจังหวัดราชบุรี
ท่านอาณัติ ศรีสุดดี อัยการจังหวัดชัยบาดาล
พันเอก(พิเศษ) มหินท์ ตุงคะเศรณี ผู้อำนวยการกองการศึกษา โรงเรียนทหารสารวัตร
พันเอก(พิเศษ) เสกสรรค์ พรหมศักดิ์ รองผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่ 12
คุณณรงค์ วโรดมสถาน (ออด) กรรมการบริหารสมาคมผู้สื่อข่าวต้านคอร์รัปชั่น(ประเทศไทย)
คุณปริญญา แก้วตัน (ล้าน) กรรมการบริหารสมาคมผู้สื่อข่าวต้านคอร์รัปชั่น(ประเทศไทย)
คณะกรรมการจัดสร้างเหรียญสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช รุ่นมหาเศรษฐี
พระครูพิสิฐสรวุฒิ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม
พระครูพิสุทธิสรคุณ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม
พระครูสมุห์ประครอง สุปติฏฺฐิโต วัดอรุณราชวราราม
พระมหาสุวิทย์ ปวิชฺชกิตฺติ วัดอรุณราชวราราม
พระมหากนกพล ธมฺมธีโร วัดอรุณราชวราราม
พระมหาณัฐนนท์ เขมานนฺโท วัดอรุณราชวราราม
พระมหาไตรภพ ติสฺสนาโค วัดอรุณราชวราราม
พระมหาหัสดี จรณธมฺโม วัดอรุณราชวราราม
พระครูปลัดธนันท์รัฐ โชติธมฺโม วัดประยุรวงศาวาส
คุณฉัตรชัย ทองสวัสดิ์
คุณสมบัติ ทองสวัสดิ์ ประธานชุมชนปรกอรุณ
คุณวรวิทย์ โชคขจิตสัมพันธ์ ประธานชุมชนลานมะขาม-บ้านหม้อ
คุณสมโภชน์ สูงโพธิ์ ประธานชุมชนข้างโรงเรียนพาณิชยการราชดำเนิน
คุณนพรัตน์ มงคลวิเชียร (แว่น วัดอรุณ)
คุณสมเกียรติ เสิศกาญจนาพร (หยอง วัดอรุณ)
คุณประพัฒน์ จันทร์วันเพ็ญ (แต๊บ วัดอรุณ)
คุณกฤษณะ เนาว์สถาน (นะ เมืองเพชร)
คุณกมล เล้าโสภาภิรมย์ (เตี้ย สวนทะเล)
คุณสรยุทธ์ จุลเจริญนนท์ (ป้อม punk berry)
คุณจันทร์ดาราอัปสร รัตนประสิทธิ์ (อาจารย์ฝนทิพย์)
คุณบัญชา ปานนิวัฒน์ (ป๋าชู วัดเศวต)
คุณสุชาดา ปานนิวัฒน์ (เจ้แป้น วัดเศวต)
คุณวิโรจน์ หอมหวาน (ทนายโรจน์ เพชรบุรี)
คุณมนตรี วิไลสมสกุล (ติ๊ก จันทบุรี)
คุณชลัช ชมเจริญ (กุ้ง ท่าพระจันทร์)